Cybersecurity Management, Cyber Sovereignty, Transparency VS. Privacy, Data Governance

Cybersecurity Management, Cyber Sovereignty,
Transparency VS. Privacy, Data Governance

Articles by Prinya

Blog

Cybersecurity/Privacy Trends

Top Ten Cybersecurity & Privacy Threats and Trends 2024

Cyber Defense Initiative Conference 2023 (CDIC 2023) ปิดฉากลงอย่างสมบูรณ์ งานในปีนี้ทำลายสถิติในรอบ 22 ปี โดยเป็นปีที่มีผู้เข้าร่วมสัมมนามากที่สุด และมีเวนเดอร์มาร่วมออกบูธแสดงสินค้าและบริการมากที่สุด นับเป็นความสำเร็จที่น่าภาคภูมิใจเป็นอย่างยิ่ง และในโอกาสเดียวกันนี้ บริษัท เอซิส โปรเฟสชั่นนัล เซ็นเตอร์ จำกัด ผู้จัดงาน CDIC ได้รับเกียรติจาก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม คุณ

Digital Business Transformation (DBT)

ทำความเข้าใจ GDC (Global Digital Compact) 8 เสาหลักในการสนับสนุนประเทศไทย ภายใต้เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน SDGs (Sustainable Development Goals)

สรุปผลจากการประชุม คณะกรรมาธิการด้านเศรษฐกิจดิจิทัล (Commission on the Digital Economy) หอการค้านานาชาติ (International Chamber of Commerce : ICC) ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส เมื่อกลางเดือนพฤษภาคม 2566 ผู้เขียนได้มีโอกาสครั้งสำคัญโดยเป็นตัวแทนประเทศไทยในนามหอการค้านานาชาติแห่งประเทศไทย (International Chamber of Commerce Thailand)

Others

ทำความรู้จักกับ Information Disorder “ความผิดปกติของข้อมูลข่าวสาร”

ภาพจาก : https://www.coe.int/en/web/freedom-expression/information-disorder ปัจจุบันภัยไซเบอร์มีหลากหลายรูปแบบ แม้แต่ภัยที่เกิดจากการหลอกลวงก็ยังมีอยู่หลายรูปแบบ บางรูปแบบมีผลต่อทรัพย์สินเงินทอง บางรูปแบบเป็นปฏิบัติการ “จู่โจมเพื่อล้างสมอง” ซึ่งเกิดขึ้นทั่วทุกมุมโลกไม่เฉพาะที่ประเทศไทยเท่านั้น โดยการจู่โจมเพื่อล้างสมองมักจะมาจากผู้ประสงค์ร้ายที่วางแผนอยู่เบื้องหลัง ในบทความนี้เราจะมาพูดถึงภัยไซเบอร์ที่เป็นความผิดปกติของข้อมูลข่าวสารหรือ Information Disorder Information Disorder คืออะไร? ภัยในรูปแบบ Information Disorder คือ เป็นข้อมูลข่าวสารที่บิดเบี้ยวผิดเพี้ยน ยกตัวอย่างเช่น เราได้เห็นข่าวสารข้อมูลเรื่องการฉีดวัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา หรือ COVID-19 มีการให้ข้อมูลข่าวสารผิดๆ

Data Governance

Data Governance & Data Resilience กลยุทธ์ขับเคลื่อนองค์กรยุคดิจิทัล

บทความโดย อ.ปริญญา หอมเอนก ตีพิมพ์ใน Tax Magazine: ฉบับพฤษภาคม 2566 ปัญหาเรื่อง “Cybersecurity”, “Cyber Resilience”, “Data Protection” และ “Data Privacy” กำลังกลายเป็นวาระแห่งชาติในหลายประเทศทั้งในปัจจุบันและอนาคต โดยมีผลกระทบต่อความมั่นคงปลอดภัยและการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ในมุมขององค์กรมีผลต่อความสูญเสียชื่อเสียง ความน่าเชื่อถือ ไปจนถึงทรัพย์สิน ซึ่งเป็นปัญหาในระดับชาติที่เรื้อรังมายาวนาน นับวันยิ่งมีจำนวนมากขึ้นและรุนแรงขึ้นโดยลำดับ ในอดีตเรารู้จักคำว่า “Computer

Others

ไม่อยากถูกดูดเงินต้องระวัง!! 6 ความเสี่ยงที่เกิดขึ้นได้ในทุกวินาที

จากข่าวในกรณีที่ผู้เสียหายท่านหนึ่งถูกโอนเงินออกจากบัญชีธนาคารผ่านทางแอป Mobile Banking ไปกว่าหนึ่งแสนบาท ช่วงแรกมีบางสำนักข่าวตั้งข้อสังเกตว่า อาจเกิดจากสายชาร์จแบตเตอรี่ปลอม ลักษณะเป็นสายชาร์จที่มิจฉาชีพทำขึ้นมาให้เป็นช่องทางในการขโมยข้อมูลหรือเข้าไปทำอะไรบางอย่างกับมือถือได้นั้น ซึ่งทราบความจริงในภายหลังว่าไม่ได้เกิดจากสายชาร์จแต่อย่างใด แต่เกิดจากการถูกหลอกลวงให้โหลดแอปปลอมติดตั้งบนโทรศัพท์มือถือของเหยื่อ ในประเด็นนี้ นายปริญญา หอมเอนก กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ ในคณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ ในฐานะผู้เชี่ยวชาญความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ มีความเห็นว่า สายชาร์จปลอมที่ดูดข้อมูลในมือถือยังไม่เคยเกิดขึ้นในประเทศไทย มีเพียงการนำเสนอในต่างประเทศตามงาน Hacker Conference ในลักษณะ Proof of Concept อย่างไรก็ตามถึงแม้ว่ากรณีดังกล่าวจะยังไม่เคยเกิดขึ้นในประเทศไทย แต่เราก็ควรจะต้องระมัดระวังในระดับหนึ่ง

Others

ความจำเป็นที่จะต้องรู้ทันด้านมืดของ AI

การดำเนินชีวิตประจำวันในทุกวันนี้ปฏิเสธไม่ได้เลยว่ามี AI อยู่รอบตัว ตั้งแต่ตื่นนอนจนกระทั่งเข้านอน โดยที่หลายคนอาจจะยังไม่รู้ว่ามี AI อยู่เบื้องหลังการทำงานต่างๆ มากมายในแต่ละวัน  AI (Artificial Intelligent) หรือปัญญาประดิษฐ์ ทำงานด้านการประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูลที่ชาญฉลาดสามารถที่จะ “คิด เรียนรู้ และโต้ตอบกับมนุษย์ได้” กล่าวกันว่าปัจจุบัน AI มีความเฉลียวฉลาดเทียบเท่ากับเด็กอายุ 7-8 ปี ด้วยความชาญฉลาดของ AI ที่ใกล้เคียงมนุษย์เข้ามาทุกที ทำให้มีการนำ

Others

ไขความต่างระหว่าง “ข้อมูลรั่วในยุค New Normal & ข้อมูลรั่วที่เกิดจากการกระทำ” 

หลายคนอาจจะยังไม่ลึกซึ้งกับคำว่า “ข้อมูลรั่ว” ซึ่งในยุคนี้ควรต้องทำความเข้าใจกับคำว่า “ข้อมูลรั่ว” ให้ถ่องแท้ เพื่อให้เป็นประโยชน์ต่อการจัดการและการบริหารความเสี่ยงจากการเกิดปัญหาข้อมูลรั่วไหล  ในบทความนี้จะกล่าวถึงข้อมูลรั่วสองประเภท โดยทั้งสองประเภท มีความแตกต่างกันอย่างสิ้นเชิง ประเภทที่ 1 เป็นข้อมูลรั่วในยุค New Normal และประเภทที่ 2 เป็นข้อมูลรั่วที่เกิดจากการกระทำ ความแตกต่างจะเป็นอย่างไรอธิบายได้ ดังนี้  ประเภทที่ 1 ข้อมูลรั่วในยุค New Normal   ที่ผ่านมาเราอาจจะคุ้นเคยกับข้อมูลรั่วที่เกิดจากการถูกแฮกข้อมูล

Others

(แนะ) ข้อคิดยุค Digital Commerce “รู้ทันพฤติกรรม กับ ฉลาดช้อป” เพียงเท่านี้ คุณก็สามารถลดความเสี่ยงทางไซเบอร์ได้ด้วยตนเอง

ทุกวันนี้ การช้อปปิ้งหรือซื้อของผ่านแพลตฟอร์มออนไลน์กลายเป็นเรื่องปกติในชีวิตที่โลกดิจิทัลหมุนรอบตัวเรา บางคนจับจ่ายใช้สอยผ่านแพลตฟอร์มต่างๆ วันละหลายๆ ครั้ง ตอกย้ำว่าสังคมไทยกำลังก้าวเข้าสู่ยุค Digital Commerce อย่างเต็มรูปแบบ ซึ่งสามารถพูดได้ว่าหากผู้ค้ารายใด ไม่ปรับตัวให้ทันกับยุคสมัย ไม่มีการค้าขายผ่านโลกออนไลน์ ก็อาจจะต้องล้มหายตายจากไปจากแวดวงธุรกิจในไม่ช้า พฤติกรรมขาช้อปออนไลน์  เมื่อพฤติกรรมผู้บริโภคเปลี่ยนไป ระบบออนไลน์เข้ามาทดแทนการค้าขายในรูปแบบเดิม ทำให้เกิดความเคยชินใหม่ๆ ขึ้น ในที่นี้ขอกล่าวถึง 3 ประเด็นที่เกี่ยวพฤติกรรมขาช้อปออนไลน์ ได้แก่ ความสะดวกรวดเร็ว ความง่าย และความเสี่ยงทางไซเบอร์ 

Others

“Shopee” แจ้งหยุดชำระเงินผ่านบัญชีธนาคาร

“Shopee” แจ้งหยุดชำระเงินผ่านบัญชีธนาคาร หลังผู้เสียหายผูกบัญชีธนาคารกับแอปแล้วถูกดูดเงิน ด้านผู้เชี่ยวชาญความปลอดภัยไซเบอร์ ยอมรับ ถูก “แฮกเกอร์ดูดเงิน” ป้องกันยาก มีแนวโน้มเพิ่มสูงต่อเนื่อง แนะวิธี “ป้องกันตัว” เปิดบัญชีใหม่ใช้เฉพาะทำธุรกรรมออนไลน์ เพื่อจำกัดความเสียหาย  จากกรณี มีผู้เสียหายผูกบัญชีธนาคารกับแอปพลิเคชันอีคอมเมิร์ชชื่อดัง (Shopee) แล้วต้องสูญเงินในบัญชีธนาคารหลายหมื่นบาทโดยไม่ทราบสาเหตุ ทั้งที่ไม่ได้มีการทำธุรกรรมใดๆ จนต้องไปแจ้งความและร้องเรียนผ่านสื่อโซเชียล โดยพบว่ามีผู้เสียหายนับร้อยรายต้องสูญเงินลักษณะเดียวกัน   ล่าสุด ผู้สื่อข่าวสำนักข่าวไทย พยายามติดต่อฝ่ายบริหาร Shopee ผ่านทีมประชาสัมพันธ์ของบริษัทฯ

Others

อาจารย์ปริญญา เปิดตัว “The Cyber Mindset ฉลาดใช้ชีวิตติดดิจิทัล” หนังสือที่เสริมทักษะ-สร้างภูมิคุ้มกัน-รู้ทันกลลวง อ่านได้ทุกเพศทุกวัย

ในยุค Digital Risk หรือความเสี่ยงภัยดิจิทัล ผู้คนทั่วโลกอยู่ในวังวนของภัยที่มาจากการใช้ชีวิตประจำวันในปัจจุบันที่มักผูกติดอยู่กับ Smart Phone และ Social Media รวมถึงอุปกรณ์ดิจิทัลต่างๆ อาจารย์ ปริญญา หอมเอนก ประธานกรรมการบริหาร บริษัท เอซิส โปรเฟสชั่นนัล เซ็นเตอร์ จำกัด ในฐานะผู้เชี่ยวชาญด้าน Cybersecurity ได้ตระหนักถึงความเสี่ยงภัยดิจิทัลที่กำลังเกิดขึ้นกับผู้คนทุกเพศทุกวัย จึงได้จัดทำพ็อกเก็ตบุ๊คขึ้นเพื่อถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ในหลายปีที่ผ่านมา ตลอดจนมุมมองต่างๆ